1. ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่
20
1.1.1 ฝึกจิตหรือสมองทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง
(Mental
Discipline)
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=294321/ได้มีการรวบรวมข้อมูลและกล่าวไว้ว่านักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind)
สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้น
เท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic
Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
ทิศนา แขมมณี (2550: 45 - 50) กล่าวไว้ว่า
1. มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่วและการกระทำใด
ๆ ของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (bad-active)
2. มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3. สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4. การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5. การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่นวิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติน ภาษากรีกและคัมภีร์ใบเบิล เป็นต้น
2. มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3. สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4. การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5. การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่นวิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติน ภาษากรีกและคัมภีร์ใบเบิล เป็นต้น
http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486ณัชชากัญญ์ วิรัตนชัยวรรณ
กล่าวไว้ว่า ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง(Mental Discipline) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่อง ได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
John Locke
(อ้างในวีระ,พ.ศ. 2517 : หน้า 3) ได้กล่าวว่า
จิตนั้นก็คือความที่คนเรารู้สึกตัวนั่นเอง เช่น รู้ตัวทำอะไร คิดอะไร
ความรู้ตัวนี้เรียกอีกหนึ่งว่าจิตสำนึก (Conscious) และถ้าต้องการฝึกจิตให้เฉียบแหลม
ควรฝึกด้วยการคิดคำนวณ
Wilhem
Wundt (อ้างในวีระ, พ.ศ. 2517: หน้า 9) ได้กล่าวว่า
จิตนั้นควรจะต้องแยกแยะให้เห็นจริงได้ ดังนั้นแนวคิดที่สำคัญ คือ จิตเป็นโครงสร้างจากองค์ประกอบคล้ายสารประกอบทางเคมี wundt เรียกว่า "จิตธาตุ"มีอยู่ 2 ประการ คือ 1.การสัมผัส (Sensation) คือ
การทำงานของอวัยวะสัมผัสเมื่อมีสิ่งเร้า 2.ความรู้สึก (Feeling) คือการแปลผลจากการสัมผัส
William James (อ้างในวีระ,พ.ศ. 2517 : หน้า 10)
ได้กล่าวว่า "หน้าที่ (the funtions)ของจิต"ว่า
จิตมีหน้าที่ควบคุมกระบวนการทำกิจกรรมของร่างกายในการที่จะปรับตัวให้เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อม
http://www.learners.in.th/profiles/users/natchakan_parn ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา
(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ใ นการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
http://surinx.blogspot.com ได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า
ว่าจิตหรือสมองหรือสติปัญญา (mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยการให้บุคคลเรียนรู้เรื่อง
ที่ยาก ๆ ยิ่งยากมากเท่าไรจิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
http://www.surinx.blogspot.com ทิศนา แขมมณี (2550:45-50) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่าจิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind)สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้โดยการออกกำลังกาย
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยการให้บุคคลเรียนรู้เรื่องที่ยากๆยิ่งยากมากเท่าไรจิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
แบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อยคือ กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้ากับกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=294321 นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมอง หรือสติปัญญา (mind)
สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic
Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย
http://www.learners.in.th/ ได้รวบรวมแล้วกล่าวไว้ว่าทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง(Mental
Discipline) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยในการฝึกจิต
การฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกจิตให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้การพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
บุญเลี้ยง ทุมทอง (2554:23) กล่าวไว้ว่า
ทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการจัดการเรียนรู้อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน
เนื่องจากเป็นทฤษฎีที่ให้ความสำคัญที่ผู้เรียน
ซึ่งสอดคล้องกับแนวความคิดของการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทฤษฎีนี้เน้นว่า ความรู้เป็นสิ่งที่ถูกสร้างโดยผู้เรียน ผู้เรียนใช้ความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่เป็นพื้นฐานในการสร้างความรู้ใหม่
เป็นทฤษฎีของคอนสตัคติวิสต์ (Constructivist Theoty)
ทิศนา แขมมณี (2550: 45 - 50) กล่าวไว้ว่า
1.มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่วและการกระทำใด ๆ
ของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง
2.มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3.สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง
สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4.การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5.การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่นวิชาคณิตศาสตร์
ปรัชญา ภาษาลาติน ภาษากรีกและคัมภีร์ไบเบิล เป็นต้น
http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486 กล่าวไว้ว่า
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา
(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
ทิศนา แขมมณี (2554 : 45-48) กล่าวไว้ว่าการฝึกจิตหรือสมองหรือสติปัญญาสามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึกมีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย
คือ
1.1.1 กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อดังนี้
ก. ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว
ข. หลักการจัดการศึกษา/การสอน การฝึกสมองให้เป็นระเบียบ
1.1.2 ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์มีความเชื่อดังนี้
ก. ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
เกิดจากความสามารถ
ข. หลักการจัดการศึกษา/การสอน การพัฒนาผู้เรียนโดยการกระตุ้นสรุป ทฤษฎีที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า จิต หรือสมอง
สามารถฝึกพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้ ซึ่งฝึกโดยการคิด เรียนรู้ในสิ่งยากๆ ซ้ำๆ
จะทำให้จิตแข็งแรงมากขึ้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
1.มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความดีและการกระทำใด ๆ
เกิดขึ้นจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (good - active)
2.ธรรมชาติของมนุษย์มีความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเอง หากได้รับเสรีภาพในการเรียนรู้ มนุษย์ก็จะสามารถพัฒนาตนเองไปตามธรรมชาติ
2.ธรรมชาติของมนุษย์มีความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเอง หากได้รับเสรีภาพในการเรียนรู้ มนุษย์ก็จะสามารถพัฒนาตนเองไปตามธรรมชาติ
3. รุสโซมีความเชื่อว่าธรรมชาติคือแหล่งความรู้สำคัญ
เด็กควรจะได้เรียนรู้ไปตามธรรมชาติคือ การเรียนรู้จากประสบการณ์ทางธรรมชาติ
จากผลของการกระทำของตน มิใช่การรเยนจากหนังสือหรือจากคำพูดบรรยาย
4.รุสโซเชื่อว่าเด็กไม่ใช่ผู้ใหญ่ตัวเล็ก ๆ เด็กมีสภาวะของเด็ก ซึ่งแตกต่างไปจากวัยอื่น การจัดการศึกษาให้เด็กจึงควรพิจารณาระดับอายุเป็นหลัก
4.รุสโซเชื่อว่าเด็กไม่ใช่ผู้ใหญ่ตัวเล็ก ๆ เด็กมีสภาวะของเด็ก ซึ่งแตกต่างไปจากวัยอื่น การจัดการศึกษาให้เด็กจึงควรพิจารณาระดับอายุเป็นหลัก
5.ฟรอเบล เชื่อว่า การเล่นเป็นการเรียนรู้ที่สำคัญของเด็ก
6.ฟรอเบล เชื่อว่าควรจะให้การศึกษาชั้นอนุบาลแก่เด็กเล็ก อายุ 3 – 5 ขวบ โดยให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
6.ฟรอเบล เชื่อว่าควรจะให้การศึกษาชั้นอนุบาลแก่เด็กเล็ก อายุ 3 – 5 ขวบ โดยให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
7.เพสตาลอสซี มีความเชื่อว่า คนมีธรรมชาติปนกันใน 3 ลักษณะ คือคนสัตว์ ซึ่งมีลักษณะเปิดเผยเป็นทาสของกิเลส คนสังคม
มีลักษณะที่จะเข้ากับสังคมคล้อยตามสังคม และ คนธรรม
ซึ่งมีลักษณะของการรู้จักรับผิดชอบชั่วดี คนจะต้องมีการพัฒนาใน 3 ลักษณะดังกล่าว
8.เพสตาลอสซีเชื่อว่าการใช้ของจริงเป็นสื่อในการสอน จะช่วยให้เด็กเรียนรู้ได้ดี
8.เพสตาลอสซีเชื่อว่าการใช้ของจริงเป็นสื่อในการสอน จะช่วยให้เด็กเรียนรู้ได้ดี
(http://www.wijai48.com/learning_stye/learningprocess.htm) ได้
รวบรวมแล้วกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า นักคืดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องโดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งมากขึ้นเท่าันั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฎีนี้ เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic
Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฎีนี้ ที่ใช้คำถามเพื่อดึงดูดความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัด
และช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
http://www.oknation.net นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส (Socratic Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method)
เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
Dr.Surin (http://surinx.blogspot.com/) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่าจิตหรือสมองหรือสติปัญญา
(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยการให้บุคคลเรียนรู้เรื่อง ที่ยาก ๆ
ยิ่งยากมากเท่าไรจิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ (Bigge,1964
: 19 – 30 อ้างถึงในทิศนา แขมมณี 2550 : 45 – 48)
1.1 กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental Discipline)
นักคิดที่สำคัญของกลุ่มนี้คือ เซนต์ออกุสติน (St. Augustine)
จอห์น คาลวิน (John Calvin) และคริสเตียน
โวล์ฟ (Christian Wolff) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อ ดังนี้
ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
1.มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่วและการกระทำใด ๆ
ของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (bad-active)
2.มนุษย์พร้อที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3.สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง
สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4.การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5.การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่นวิชาคณิตศาสตร์
ปรัชญา ภาษาลาติน ภาษากรีกและคัมภีร์ใบเบิล เป็นต้น
หลักการจัดการศึกษา/การสอน
1.การฝึกสมองหรือการฝึกระเบียบของจิตอย่างเข้มงวด
เป็นสิ่งสำคัญในการฝึกให้บุคคลเป็นคนฉลาดและคนดี
2.การฝึกจิตจะต้องทำอย่างเข้มงวด เพื่อให้จิตเข้มแข็ง การบังคับ
ลงโทษเป็นสิ่งจำเป็นถ้าผู้เรียนไม่เชื่อฟัง
3.การจัดให้ผู้เรียนได้เรียนเนื้อหาวิชาที่ยาก ได้แก่ คณิตศาสตร์
ปรัชญา ภาษาลาตินและภาษากรีก จะช่วยฝึกฝนสมองให้เข้มแข็งได้เป็นอย่างดี
4.การจัดให้ผู้เรียนได้ศึกษาคัมภีร์ใบเบิลและยึดถือในพระเจ้า
จะช่วยให้ผู้เรียนเป็นคนดี
1.2 ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic Mental
Discipline) นักคิดคนสำคัญในกลุ่มนี้คือ พลาโต (Plato) และอริสโตเติล (Aristotle) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อ
ดังนี้
ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
1.พัฒนาการในเรื่องต่าง ๆ เป็นความสามารถของมนุษย์
มิใช่พระเจ้าบันดาลให้เกิด
2.มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดีไม่เลวและการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน
(neutral - active)
3.มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง
มนุษย์มีอิสระที่จะเลือกทำตามความเข้าใจและเหตุผลของตน
หากได้รับการฝึกฝนอบรมก็จะสามารถพัฒนาศักยภาพที่ติดตัวมา
4.มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด
แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
หลักการจัดการศึกษา/การสอน
1.การพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้คือการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
2.การพัฒนาผู้เรียนไม่จำเป็นต้องใช้การบังคับ เคี่ยวเข็ญ
แต่ควรใช้เหตุผลเพราะมนุษย์เกิดมาพร้อมกับความสามารถในการใช้เหตุผล
3.การใช้วิธีสอนแบบโสเครตีส (Socratic Method) คือการใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้เห็นกระจ่างชัด
เป็นวิธีสอนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
4.การใช้วิธีสอนแบบบรรยาย (Didactic Method) คือการสอนที่ใช้คำถามฟื้นความจำของผู้เรียนแล้วเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
เป็นวิธีสอนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีอีกวิธีหนึ่ง
ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ สพป. อุตรดิตถ์ เขต2
[ทฤษฎีการเรียนรู้]http://www.neric-club.com
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถ
พัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic
Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้
กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
ณัฐชาการณ์ นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา
(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
(www.isu.ob.te)ได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา (mind)
สามารถพัฒนาได้ปราดเปรื่องโดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งมากขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฎีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส (Socaratic
Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย (Didactic Method ) เป็น วิธีการสอนตามทฤษฎีนี้ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่าง
ชัดเจนและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วย
ให้ผูเรียนเกิดการ
สุรางค์ โค้วตระกูล (2544:56) กล่าวว่า
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้และหลักการสอนในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 และการประยุกต์สู่การสอน สามารถจัดแยกได้เป็น 3 กลุ่มคือ1.1
กลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง (Mental Discipline) นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญาสามารถพัฒนาได้โดยการฝึก
นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ1.1.1
กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental Discipline ) นักคิด คือ เซนต์ออกุสติน จอห์น คาลวิน และคริสเตียน โวล์ฟ
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อเรื่อง1) มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว
การกระทำใด ๆ ของมนุษย์เกิดมาจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (Bad-active)2)
มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม3) สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ
ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง
ๆ ได้4) การฝึกสมอง
หรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด5)
การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่น วิชาคณิตศาสตร์
ปรัชญา ภาษาลาติร ภาษากรีก และคัมภีร์ไบ-เบิล เป็นต้น
ทิศนา แขมมณี(2555:45-46) กล่าวว่า ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง
(Mental Discipline) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา (mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข้งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยาก ๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
สุรางค์
โค้วตระกูล(2544:56)กล่าวว่า
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้และหลักการสอนในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20 และการประยุกต์สู่การสอน สามารถจัดแยกได้เป็น 3 กลุ่มคือ1.1 กลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง (Mental
Discipline) นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญาสามารถพัฒนาได้โดยการฝึก นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ1.1.1 กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic
Mental Discipline ) นักคิด คือ เซนต์ออกุสติน จอห์น คาลวิน
และคริสเตียน โวล์ฟ นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อเรื่อง1)มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว
การกระทำใด ๆ ของมนุษย์เกิดมาจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (Bad-active)2) มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม3) สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ
ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง
ๆ ได้4) การฝึกสมอง หรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด5) การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่น วิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา
ภาษาลาติร ภาษากรีก และคัมภีร์ไบ-เบิล เป็นต้น
ทิศนา แขมมณี (2554 : 45)กล่าวว่า นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่าจิตหรือสมองหรือสติปัญญา (mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยการให้บุคคลเรียนรู้เรื่อง ที่ยาก ๆ
ยิ่งยากมากเท่าไรจิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น
2 กลุ่มย่อย คือ (Bigge,1964 : 19 – 30 )
1.1
กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental Discipline) นักคิดที่สำคัญของกลุ่มนี้คือ เซนต์ออกุสติน (St. Augustine) จอห์น คาลวิน (John Calvin) และคริสเตียน โวล์ฟ (Christian
Wolff) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อ ดังนี้
ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
1.มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่วและการกระทำใด ๆ
ของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (bad- active)
2.มนุษย์พร้อที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3.สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4.การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5.การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่นวิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติน ภาษากรีกและคัมภีร์ใบ เบิล เป็นต้น
หลักการจัดการศึกษา/การสอน
2.มนุษย์พร้อที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3.สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4.การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5.การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่นวิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติน ภาษากรีกและคัมภีร์ใบ เบิล เป็นต้น
หลักการจัดการศึกษา/การสอน
1.การฝึกสมองหรือการฝึกระเบียบของจิตอย่างเข้มงวด
เป็นสิ่งสำคัญในการฝึกให้บุคคลเป็นคนฉลาดและคนดี
2.การฝึกจิตจะต้องทำอย่างเข้มงวด เพื่อให้จิตเข้มแข็ง การบังคับ
ลงโทษเป็นสิ่งจำเป็นถ้าผู้เรียนไม่เชื่อฟัง
3.การจัดให้ผู้เรียนได้เรียนเนื้อหาวิชาที่ยาก ได้แก่ คณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาตินและภาษากรีก จะช่วยฝึกฝนสมองให้เข้มแข็งได้เป็นอย่างดี
4.การจัดให้ผู้เรียนได้ศึกษาคัมภีร์ใบเบิลและยึดถือในพระเจ้า จะช่วยให้ผู้เรียนเป็นคนดี
3.การจัดให้ผู้เรียนได้เรียนเนื้อหาวิชาที่ยาก ได้แก่ คณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาตินและภาษากรีก จะช่วยฝึกฝนสมองให้เข้มแข็งได้เป็นอย่างดี
4.การจัดให้ผู้เรียนได้ศึกษาคัมภีร์ใบเบิลและยึดถือในพระเจ้า จะช่วยให้ผู้เรียนเป็นคนดี
บริหารการศึกษา กลุ่มดอนทอง52. http://dontong52.blogspot.com/ นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญาสามารถพัฒนาได้โดยการฝึก
นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ
1. กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental Discipline
) นักคิด คือ เซนต์ออกุสติน จอห์น คาลวิน และคริสเตียน โวล์ฟ
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อเรื่อง
1) มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว การกระทำใด ๆ ของมนุษย์เกิดมาจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (Bad-active)
2) มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3) สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถ แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4) การฝึกสมอง หรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5) การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่น วิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติร ภาษากรีก และคัมภีร์ไบเบิล เป็นต้น
1) มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว การกระทำใด ๆ ของมนุษย์เกิดมาจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (Bad-active)
2) มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3) สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถ แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4) การฝึกสมอง หรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5) การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่น วิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติร ภาษากรีก และคัมภีร์ไบเบิล เป็นต้น
2. ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic
Mental Discipline) นักิคนสำคัญ คือ พลาโต และอริสโตเติล
นักคิดกลุ่มนี้เชื่อ
1) พัฒนาการเป็นเรื่องของมนุษย์ มิใช่พระเจ้าบันดาลมา
2) มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดี ไม่เลว และการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน
3) มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง
4) มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาแต่เกิด แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
1) พัฒนาการเป็นเรื่องของมนุษย์ มิใช่พระเจ้าบันดาลมา
2) มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดี ไม่เลว และการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน
3) มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง
4) มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาแต่เกิด แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
ทิศนา แขมมณี
(2553 : 45-47) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือปัญญา (mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกฝนให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ (Bigge,
1964: 19-30)
1.1.1 กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า
(Theistic Mental Discipline) นักคิดที่สำคัญของกลุ่มนี้คือ
เซนต์ออกุสติน (St. Augustine) จอห์น คาลวิน (John
Calvin) และคริสเตียน โวล์ฟ (Christian Wolff)
1.1.2 ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์
(Humanistic Mental Discipline) นักคิดคนสำคัญในกลุ่มนี้คือ
พลาโต (Plato) และอริสโตเติล (Aristotle)
http://www.learners.in.th/blogs/posts/386486
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=294321
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method)
เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486 ได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
http://pirun.ku.ac.th/~g4886063/learningT.htm ได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
http://dontong52.blogspot.com/ ได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า
นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญาสามารถพัฒนาได้โดยการฝึก
นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ 1. กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental
Discipline ) นักคิด คือ เซนต์ออกุสติน จอห์น คาลวิน และคริสเตียน
โวล์ฟ นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อเรื่อง
1. มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว การกระทำใด ๆ
ของมนุษย์เกิดมาจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (Bad-active)
2. มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3. สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ
ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง
ๆ ได้
4. การฝึกสมอง
หรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5. การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก
เช่น วิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติร ภาษากรีก และคัมภีร์ไบเบิล เป็นต้น
2.
ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic
Mental Discipline) นักิคนสำคัญ คือ พลาโต และอริสโตเติล
นักคิดกลุ่มนี้เชื่อ
1. พัฒนาการเป็นเรื่องของมนุษย์ มิใช่พระเจ้าบันดาลมา
2. มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดี ไม่เลว
และการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน
3. มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง
4. มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาแต่เกิด
แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
John Locke (อ้างในวีระ,พ.ศ. 2517 : หน้า 3)
ได้กล่าวว่า จิตนั้นก็คือความที่คนเรารู้สึกตัวนั่นเอง เช่น รู้ตัวทำอะไร คิดอะไร ความรู้ตัวนี้เรียกอีกหนึ่งว่าจิตสำนึก (Conscious) และถ้าต้องการฝึกจิตให้เฉียบแหลม ควรฝึกด้วยการคิดคำนวณ
Wilhem Wundt (อ้างในวีระ,พ.ศ. 2517: หน้า 9) ได้กล่าวว่า จิตนั้นควรจะต้องแยกแยะให้เห็นจริงได้ ดังนั้นแนวคิดที่สำคัญ คือ จิตเป็นโครงสร้างจากองค์ประกอบคล้ายสารประกอบทางเคมี wundt เรียกว่า "จิตธาตุ"มีอยู่ 2 ประการ คือ
1.การสัมผัส (Sensation) คือ การทำงานของอวัยวะสัมผัสเมื่อมีสิ่งเร้า
2.ความรู้สึก (Feeling) คือการแปลผลจากการสัมผัส
William James (อ้างในวีระ,พ.ศ. 2517 : หน้า 10) ได้กล่าวว่า "หน้าที่ (the funtions) ของจิต"ว่า จิตมีหน้าที่ควบคุมกระบวนการทำกิจกรรมของร่างกายในการที่จะปรับตัวให้เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อม
Wilhem Wundt (อ้างในวีระ,พ.ศ. 2517: หน้า 9) ได้กล่าวว่า จิตนั้นควรจะต้องแยกแยะให้เห็นจริงได้ ดังนั้นแนวคิดที่สำคัญ คือ จิตเป็นโครงสร้างจากองค์ประกอบคล้ายสารประกอบทางเคมี wundt เรียกว่า "จิตธาตุ"มีอยู่ 2 ประการ คือ
1.การสัมผัส (Sensation) คือ การทำงานของอวัยวะสัมผัสเมื่อมีสิ่งเร้า
2.ความรู้สึก (Feeling) คือการแปลผลจากการสัมผัส
William James (อ้างในวีระ,พ.ศ. 2517 : หน้า 10) ได้กล่าวว่า "หน้าที่ (the funtions) ของจิต"ว่า จิตมีหน้าที่ควบคุมกระบวนการทำกิจกรรมของร่างกายในการที่จะปรับตัวให้เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อม
http://www.learners.in.th/profiles/users/natchakan_parn ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิต สมอง หรือสติปัญญา (mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไรจิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
http://surinx.blogspot.com
ได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า ว่าจิตหรือสมองหรือสติปัญญา (mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยการให้บุคคลเรียนรู้เรื่อง ที่ยาก ๆ
ยิ่งยากมากเท่าไรจิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
สุรินทร์ (http://surinx.blogspot.com )
ได้รวบรวมเกี่ยวกับทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง (Mental
Discipline) ไว้ว่า นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่าจิตหรือสมองหรือสติปัญญา
(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยการให้บุคคลเรียนรู้เรื่อง ที่ยาก ๆ
ยิ่งยากมากเท่าไรจิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ
1. กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic
Mental Discipline) นักคิดที่สำคัญของกลุ่มนี้คือ เซนต์ออกุสติน (St.
Augustine) จอห์น คาลวิน (John Calvin) และคริสเตียน
โวล์ฟ (Christian Wolff) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อ ดังนี้
ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
1.มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่วและการกระทำใด ๆ ของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง
2.มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3.สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วนๆ ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้
4.การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5.การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่นวิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติน ภาษากรีกและคัมภีร์ใบเบิล เป็นต้น
1.มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่วและการกระทำใด ๆ ของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง
2.มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3.สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วนๆ ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้
4.การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5.การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่นวิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติน ภาษากรีกและคัมภีร์ใบเบิล เป็นต้น
2.กลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic Mental
Discipline) นักคิดคนสำคัญในกลุ่มนี้คือ พลาโต (Plato) และอริสโตเติล (Aristotle) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อ
ดังนี้
ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ 1.พัฒนาการในเรื่องต่างๆ
เป็นความสามารถของมนุษย์ มิใช่พระเจ้าบันดาลให้เกิด
2.มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดีไม่เลวและการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน
3.มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง มนุษย์มีอิสระที่จะเลือกทำตามความเข้าใจและเหตุผลของตน หากได้รับการฝึกฝนอบรมก็จะสามารถพัฒนาศักยภาพที่ติดตัวมา
4.มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
2.มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดีไม่เลวและการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน
3.มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง มนุษย์มีอิสระที่จะเลือกทำตามความเข้าใจและเหตุผลของตน หากได้รับการฝึกฝนอบรมก็จะสามารถพัฒนาศักยภาพที่ติดตัวมา
4.มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
เทอดชัย บัวผาย ( http://www.niteslink.net/web/?name=webboard&file=read&id=7 ) กล่าวว่า
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic
Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
(http://www.oknation.net/blog/print.php?id=294321/)นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic
Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
(ทิศนา แขมมณี) ได้รวบรวมไว้ว่า (Bigge, 1964: 19-30) กล่าวไว้ว่า จิตหรือสมองหรือปัญญา สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
(ทิศนา แขมมณี) ได้รวบรวมไว้ว่า (Bigge, 1964: 19-30) กล่าวไว้ว่า จิตหรือสมองหรือปัญญา สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
(http://www.th.wikipedia.org/wiki/)ได้รวบรวมและกล่าวถึงแนวความคิดของ
มาสโลว์ (Maslow) ที่ได้อธิบายถึงลำดับความต้องการของมนุษย์
โดยที่ความต้องการจะเป็น
ตัวกระตุ้นให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมเพื่อไปสู่ความต้องการนั้น
ดังนี้ถ้าเข้าใจความต้องการของมนุษย์ก็สามารถ
อธิบายถึงเรื่องแรงจูงใจของมนุษย์ได้เช่นเดียวกัน
ทฤษฎีนี้เห็นว่าแรงจูงใจในการกระทำพฤติกรรมของมนุษย์นั้นขึ้นอยู่กับการรับ รู้ (Perceive)
สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว โดยอาศัยความสามารถทางปัญญาเป็นสำคัญ
มนุษย์จะได้รับแรงผลักดันจากหลาย ๆ ทางในการแสดงพฤติกรรม
ณัชชากัญญ์ วิรัตนชันวรรณ ( http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486 ) รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีบทนี้ว่า
"นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา (mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา"
บริหารการศึกษา กลุ่มดอนทอง 52 ( http://dontong52.blogspot.com ) รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีบทนี้ว่า"นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญาสามารถพัฒนาได้โดยการฝึก นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น
2 กลุ่มย่อย คือ
1. กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental
Discipline ) นักคิด คือ เซนต์ออกุสติน จอห์น คาลวิน และคริสเตียน
โวล์ฟ นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อเรื่อง
1.1) มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว การกระทำใด ๆ
ของมนุษย์เกิดมาจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (Bad-active)
1.2) มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
1.3) สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ
ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง
ๆ ได้
1.4) การฝึกสมอง
หรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
1.5) การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่น
วิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติร ภาษากรีก และคัมภีร์ไบเบิล เป็นต้น
2. ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic
Mental Discipline) นักคิดคนสำคัญ คือ พลาโต และอริสโตเติล
นักคิดกลุ่มนี้เชื่อ
2.1) พัฒนาการเป็นเรื่องของมนุษย์ มิใช่พระเจ้าบันดาลมา
2.2) มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดี ไม่เลว และการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน
2.3) มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง
2.4) มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาแต่เกิด
แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา"
ศน.หลักสูตรและการสอน ( http://www.niteslink.net/web/?name=webboard&file=read&id=7 ) รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีบทนี้ว่า "นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา (mind)
สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic
Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี "
ทิศนา แขมมณี
ได้กล่าวไว้ว่า
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง
(Mental Discipline)
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่าจิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind)สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึกเช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย
ในการฝึกจิตหรือสมองทำได้โยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไรจิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ (Bigge,1964:19-30)
1.)
กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า
(Theistic
Mental Discipline)
นักคิดที่สำคัญของกลุ่มนี้คือ เซนต์ออกุสติน(St.Augustine)จอห์น
คาลวิน(John calvin)
และคริสเตียนโวล์ฟ (Christian Wolff)
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อดังนี้
ก. ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่วและการกระทำใดๆของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง
(bad-active)
การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
ข. หลักการจัดการศึกษา/การสอน
การฝึกสมองหรือการฝึกระเบียบของจิตอย่างเข้มงวด
เป็นสิ่งสำคัญในการฝึกให้บุคคลเป็นคนฉลาดและคนดี การฝึกจิตจะต้องทำอย่างเข้มงวด
เพื่อให้จิตเข้มแข็ง การบังคับลงโทษเป็นสิ่งจำเป็นถ้าผู้เรียนไม่เชื่อฟัง
2.)
ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์(Humanistic Mental Discipline)
นักคิดคนสำคัญในกลุ่มนี้
คือ พลาโต(Plato)และอริสโตเติล(Aristotel)นักคิกกลุ่มนี้มีความเชื่อดังนี้
ก. ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
พัฒนาในเรื่องต่างๆ
เป็นความสามารถของมนุษย์มิใช่พระเจ้าบันดาลให้เกิดมนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง
มนุษย์มีอิสระที่จะเลือกทำตามความเข้าใจและเหตุผลองตนหากได้รับการฝึกฝนอบรมก็จะสามารถพัฒนาศักยภาพที่ติดตัวมา
ข. หลักการจัดการศึกษา/การสอน
การพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้คือการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
การใช้วิธีการสอนแบบโสเดรติส (Socratic Method)
คือการใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้เห็นกระจ่างชัดเป็นวิธีสอนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี การใช้วิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method)คือการสอนที่ใช้คำถามฟื้นความจำของผู้เรียนแล้ว
เพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
เป็นวิธีสอนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีอีกวิธีหนึ่ง
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ ได้กล่าวไว้ว่า
การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน(Brain-Based
Learning)
หลักการพื้นฐานของ Brain-Based Learning
สมองจะทำงานได้ดี เมื่อจิตใจ อารมณ์เบิกบาน ไม่กังวล ร่างกายได้รับน้ำตาล
น้ำ และออกซิเจนอย่างเพียงพอและในการเรียนรู้นั้น ครูต้องสอนในสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียน
จึงจะทำให้ผู้เรียนสนใจเรียน และในการสอนต้องพัฒนาสมองทั้งสองซีก
ซึ่งการที่ผู้เรียนได้ใช้ความคิดจะทำให้สมองเจริญงอกงาม
การสอนให้ผู้เรียนจำอย่างเดียว สมองจะไม่ได้รับการพัฒนา
และในการเรียนต้องให้ผู้เรียนได้ทำงานที่ท้าทายมีความตื่นตัวในการเรียนและนำสิ่งที่เรียนไปใช้ในชีวิตจริงได้
1.มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่วและการกระทำใด
ๆ ของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (bad-active)
2.มนุษย์พร้อที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3.สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็งสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆได้
4.การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5.การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่นวิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติน ภาษากรีกและคัมภีร์ใบเบิล เป็นต้น
2.มนุษย์พร้อที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3.สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็งสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆได้
4.การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5.การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่นวิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติน ภาษากรีกและคัมภีร์ใบเบิล เป็นต้น
Kneller ( 2520:36 )
กลุ่มนี้มองธรรมชาติของมนุษย์แยกเป็น 2 ลักษณะ คือ Bad-active และ Neutral-active ไม่ว่าจะมองในลักษณะใด กลุ่มนี้ก็มองเห็นว่าความรู้เป็นสิ่งที่ติดตัวมาแต่กำเนิด แต่ต้องให้ผู้รู้ช่วยกระตุ้น
(สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลน้อยต่อการแสดงพฤติกรรม) ครูเป็นผู้ที่มิได้มีความรู้ เพียงแต่เป็นผู้ช่วยกระตุ้นให้นักเรียนแสดงความรู้ออกมา โดยใช้วิธีถามคำถาม
ทิศนา แขมมณี ได้รวบรวมไว้ว่า (Bigge, 1964: 19-30) กล่าวไว้ว่า
จิตหรือสมองหรือปัญญา สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
ณัชชากัญญ์ วิรัตนชัยวรรณ นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
ทิศนา แขมมณี ได้รวบรวมไว้ว่า (Bigge, 1964: 19-30) กล่าวไว้ว่า จิตหรือสมองหรือปัญญา
สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆยิ่งยากมาก เท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
บริหารการศึกษา กลุ่มดอนทอง52 (http://dontong52.blogspot.com/)
จิตหรือสมองหรือสติปัญญาสามารถพัฒนาได้โดยการฝึก นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น
2 กลุ่มย่อย คือ
1. กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental Discipline ) นักคิด คือ เซนต์ออกุสติน จอห์น คาลวิน และคริสเตียน โวล์ฟ
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อเรื่อง
1) มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว การกระทำใด ๆ
ของมนุษย์เกิดมาจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (Bad-active)
2) มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3) สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ
ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง
ๆ ได้
4) การฝึกสมอง หรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5) การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่น วิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา
ภาษาลาติร ภาษากรีก และคัมภีร์ไบเบิล เป็นต้น
2. ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic Mental
Discipline) นักคิดคนสำคัญ คือ พลาโต และอริสโตเติล
นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า
1) พัฒนาการเป็นเรื่องของมนุษย์ มิใช่พระเจ้าบันดาลมา
2) มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดี ไม่เลว
และการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน
3) มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง
4) มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาแต่เกิด แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
สุริน ชุมสาย ณ อยุธยา(http://surinx.blogspot.com/)ได้กล่าวถึงทิศนา อ้างถึงในทิศนา
แขมมณี (2550 : 45 – 48) ได้กล่าวถึงทฤษฎีที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง
(Mental Discipline)นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่าจิตหรือสมองหรือสติปัญญา
(mind) สามารถ พัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยการให้บุคคลเรียนรู้เรื่อง ที่ยาก ๆ
ยิ่งยากมากเท่าไรจิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ
1.1
กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental Discipline) นักคิดที่สำคัญของกลุ่มนี้คือ เซนต์ออกุสติน (St. Augustine) จอห์น คาลวิน (John Calvin) และคริสเตียน โวล์ฟ
(Christian Wolff) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อ ดังนี้
ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
1.มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่วและการกระทำใด
ๆ ของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (bad-active)
2.มนุษย์พร้อที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3.สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4.การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5.การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่นวิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติน ภาษากรีกและคัมภีร์ใบเบิล เป็นต้น
หลักการจัดการศึกษา/การสอน
2.มนุษย์พร้อที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3.สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4.การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5.การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่นวิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติน ภาษากรีกและคัมภีร์ใบเบิล เป็นต้น
หลักการจัดการศึกษา/การสอน
1.การฝึกสมองหรือการฝึกระเบียบของจิตอย่างเข้มงวด
เป็นสิ่งสำคัญในการฝึกให้บุคคลเป็นคนฉลาดและคนดี
2.การฝึกจิตจะต้องทำอย่างเข้มงวด เพื่อให้จิตเข้มแข็ง การบังคับ ลงโทษเป็นสิ่งจำเป็นถ้าผู้เรียนไม่เชื่อฟัง
3.การ จัดให้ผู้เรียนได้เรียนเนื้อหาวิชาที่ยาก ได้แก่ คณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาตินและภาษากรีก จะช่วยฝึกฝนสมองให้เข้มแข็งได้เป็นอย่างดี
4.การจัดให้ผู้เรียนได้ศึกษาคัมภีร์ใบเบิลและยึดถือในพระเจ้า จะช่วยให้ผู้เรียนเป็นคนดี
1.2 ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic Mental Discipline) นักคิดคนสำคัญในกลุ่มนี้คือ พลาโต (Plato) และอริสโตเติล (Aristotle) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อ ดังนี้
2.การฝึกจิตจะต้องทำอย่างเข้มงวด เพื่อให้จิตเข้มแข็ง การบังคับ ลงโทษเป็นสิ่งจำเป็นถ้าผู้เรียนไม่เชื่อฟัง
3.การ จัดให้ผู้เรียนได้เรียนเนื้อหาวิชาที่ยาก ได้แก่ คณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาตินและภาษากรีก จะช่วยฝึกฝนสมองให้เข้มแข็งได้เป็นอย่างดี
4.การจัดให้ผู้เรียนได้ศึกษาคัมภีร์ใบเบิลและยึดถือในพระเจ้า จะช่วยให้ผู้เรียนเป็นคนดี
1.2 ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic Mental Discipline) นักคิดคนสำคัญในกลุ่มนี้คือ พลาโต (Plato) และอริสโตเติล (Aristotle) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อ ดังนี้
ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
1.พัฒนาการในเรื่องต่าง ๆ
เป็นความสามารถของมนุษย์ มิใช่พระเจ้าบันดาลให้เกิด
2.มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดีไม่เลวและการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน
(neutral - active)
3.มนุษย์ เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง มนุษย์มีอิสระที่จะเลือกทำตามความเข้าใจและเหตุผลของตน หากได้รับการฝึกฝนอบรมก็จะสามารถพัฒนาศักยภาพที่ติดตัวมา
4.มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
หลักการจัดการศึกษา/การสอน
3.มนุษย์ เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง มนุษย์มีอิสระที่จะเลือกทำตามความเข้าใจและเหตุผลของตน หากได้รับการฝึกฝนอบรมก็จะสามารถพัฒนาศักยภาพที่ติดตัวมา
4.มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
หลักการจัดการศึกษา/การสอน
1.การพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้คือการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
2.การพัฒนาผู้เรียนไม่จำเป็นต้องใช้การบังคับ เคี่ยวเข็ญ แต่ควรใช้เหตุผลเพราะมนุษย์เกิดมาพร้อมกับความสามารถในการใช้เหตุผล
3.การใช้วิธีสอนแบบโสเครตีส (Socratic Method) คือการใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้เห็นกระจ่างชัด เป็นวิธีสอนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
4.การใช้วิธีสอนแบบบรรยาย (Didactic Method) คือ การสอนที่ใช้คำถามฟื้นความจำของผู้เรียนแล้วเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้ เรียน เป็นวิธีสอนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีอีกวิธีหนึ่ง
2.การพัฒนาผู้เรียนไม่จำเป็นต้องใช้การบังคับ เคี่ยวเข็ญ แต่ควรใช้เหตุผลเพราะมนุษย์เกิดมาพร้อมกับความสามารถในการใช้เหตุผล
3.การใช้วิธีสอนแบบโสเครตีส (Socratic Method) คือการใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้เห็นกระจ่างชัด เป็นวิธีสอนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
4.การใช้วิธีสอนแบบบรรยาย (Didactic Method) คือ การสอนที่ใช้คำถามฟื้นความจำของผู้เรียนแล้วเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้ เรียน เป็นวิธีสอนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีอีกวิธีหนึ่ง
http://www.isu.ob.te กล่าวไว้ว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา (mind)
สามารถพัฒนาได้ปราดเปรื่องโดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆยิ่งยากมาก
เท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งมากขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฎีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส (Socaratic
Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย (Didactic Method ) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฎีนี้ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้
กระจ่างชัดเจนและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนซึ่งเป็นวิธีการสอน
ที่ช่วยให้ผูเรียนเกิดการเรียนรูได้ดี
http://surinx.blogspot.com
กล่าวไว้ว่า ว่าจิตหรือสมองหรือสติปัญญา (mind) สามารถ
พัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยการให้บุคคลเรียนรู้เรื่อง ที่ยาก ๆ
ยิ่งยากมากเท่าไรจิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic
Mental Discipline) นักคิดที่สำคัญของกลุ่มนี้ คือ เซนต์ออกุสติน (St.
Augustine) จอห์น คาลวิน (John Calvin) และคริสเตียน
โวล์ฟ (Christian Wolff) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อ ดังนี้
ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
........1.มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่วและการกระทำใด ๆ
ของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (bad-active)
........2.มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
........3.สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง
สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
........4.การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
........5.การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก
เช่นวิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติน ภาษากรีกและคัมภีร์ใบเบิล เป็นต้น
หลักการจัดการศึกษา/การสอน
........1.การฝึกสมองหรือการฝึกระเบียบของจิตอย่างเข้มงวด
เป็นสิ่งสำคัญในการฝึกให้บุคคลเป็นคนฉลาดและคนดี
........2.การฝึกจิตจะต้องทำอย่างเข้มงวด
เพื่อให้จิตเข้มแข็ง การบังคับ ลงโทษเป็นสิ่งจำเป็นถ้าผู้เรียนไม่เชื่อฟัง
........3. การจัดให้ผู้เรียนได้เรียนเนื้อหาวิชาที่ยาก
ได้แก่ คณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาตินและภาษากรีก จะช่วยฝึกฝนสมองให้เข้มแข็งได้เป็นอย่างดี
........4.การจัดให้ผู้เรียนได้ศึกษาคัมภีร์ใบเบิลและยึดถือในพระเจ้า
จะช่วยให้ผู้เรียนเป็นคนดี
กลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic Mental
Discipline) นักคิดคนสำคัญในกลุ่มนี้คือ พลาโต (Plato) และอริสโตเติล (Aristotle) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อ
ดังนี้
ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
........1.พัฒนาการในเรื่องต่าง ๆ เป็นความสามารถของมนุษย์
มิใช่พระเจ้าบันดาลให้เกิด
........2.มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดีไม่เลวและการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน
(neutral
- active)
........3. มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง
มนุษย์มีอิสระที่จะเลือกทำตามความเข้าใจและเหตุผลของตน
หากได้รับการฝึกฝนอบรมก็จะสามารถพัฒนาศักยภาพที่ติดตัวมา
........4.มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด
แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
หลักการจัดการศึกษา/การสอน
........1.การพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้คือการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
........2.การพัฒนาผู้เรียนไม่จำเป็นต้องใช้การบังคับ
เคี่ยวเข็ญ แต่ควรใช้เหตุผลเพราะมนุษย์เกิดมาพร้อมกับความสามารถในการใช้เหตุผล
........3.การใช้วิธีสอนแบบโสเครตีส (Socratic Method) คือการใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้เห็นกระจ่างชัด
เป็นวิธีสอนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
........4.การใช้วิธีสอนแบบบรรยาย (Didactic Method) คือ การสอนที่ใช้คำถามฟื้นความจำของผู้เรียนแล้วเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้
เรียน เป็นวิธีสอนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีอีกวิธีหนึ่ง
http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486 กล่าว
ไว้ว่า สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึกในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้
บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆยิ่งยากมากเท่าไรจิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่ง
ขึ้นเท่านั้นหลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้
เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
ทิศนา แขมมณี (2554 : 45-48) กล่าวไว้ว่าการฝึกจิตหรือสมองหรือสติปัญญาสามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึกมีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย
คือ
1.1.1 กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อดังนี้
ก. ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว
ข. หลักการจัดการศึกษา/การสอน การฝึกสมองให้เป็นระเบียบ
1.1.2 ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์มีความเชื่อดังนี้
ก. ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
เกิดจากความสามารถ
ข.
หลักการจัดการศึกษา/การสอน การพัฒนาผู้เรียนโดยการกระตุ้นสรุป ทฤษฎีที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า จิต หรือสมอง
สามารถฝึกพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้ ซึ่งฝึกโดยการคิด
เรียนรู้ในสิ่งยากๆ ซ้ำๆ จะทำให้จิตแข็งแรงมากขึ้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
1.มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความดีและการกระทำใด ๆ
เกิดขึ้นจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (good - active)
2.ธรรมชาติของมนุษย์มีความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเอง หากได้รับเสรีภาพในการเรียนรู้ มนุษย์ก็จะสามารถพัฒนาตนเองไปตามธรรมชาติ
2.ธรรมชาติของมนุษย์มีความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเอง หากได้รับเสรีภาพในการเรียนรู้ มนุษย์ก็จะสามารถพัฒนาตนเองไปตามธรรมชาติ
3. รุสโซมีความเชื่อว่าธรรมชาติคือแหล่งความรู้สำคัญ เด็กควรจะได้เรียนรู้ไปตามธรรมชาติคือ
การเรียนรู้จากประสบการณ์ทางธรรมชาติ จากผลของการกระทำของตน
มิใช่การรเยนจากหนังสือหรือจากคำพูดบรรยาย
4.รุสโซเชื่อว่าเด็กไม่ใช่ผู้ใหญ่ตัวเล็ก ๆ เด็กมีสภาวะของเด็ก ซึ่งแตกต่างไปจากวัยอื่น การจัดการศึกษาให้เด็กจึงควรพิจารณาระดับอายุเป็นหลัก
4.รุสโซเชื่อว่าเด็กไม่ใช่ผู้ใหญ่ตัวเล็ก ๆ เด็กมีสภาวะของเด็ก ซึ่งแตกต่างไปจากวัยอื่น การจัดการศึกษาให้เด็กจึงควรพิจารณาระดับอายุเป็นหลัก
5.ฟรอเบล เชื่อว่า การเล่นเป็นการเรียนรู้ที่สำคัญของเด็ก
6.ฟรอเบล เชื่อว่าควรจะให้การศึกษาชั้นอนุบาลแก่เด็กเล็ก อายุ 3 – 5 ขวบ โดยให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
6.ฟรอเบล เชื่อว่าควรจะให้การศึกษาชั้นอนุบาลแก่เด็กเล็ก อายุ 3 – 5 ขวบ โดยให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
7.เพสตาลอสซี มีความเชื่อว่า คนมีธรรมชาติปนกันใน 3 ลักษณะ คือคนสัตว์ ซึ่งมีลักษณะเปิดเผยเป็นทาสของกิเลส คนสังคม
มีลักษณะที่จะเข้ากับสังคมคล้อยตามสังคม และ คนธรรม
ซึ่งมีลักษณะของการรู้จักรับผิดชอบชั่วดี คนจะต้องมีการพัฒนาใน 3 ลักษณะดังกล่าว
8.เพสตาลอสซีเชื่อว่าการใช้ของจริงเป็นสื่อในการสอน จะช่วยให้เด็กเรียนรู้ได้ดี
8.เพสตาลอสซีเชื่อว่าการใช้ของจริงเป็นสื่อในการสอน จะช่วยให้เด็กเรียนรู้ได้ดี
(http://www.wijai48.com/learning_stye/learningprocess.htm) ได้
รวบรวมแล้วกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า นักคือกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องโดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งมากขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฎีนี้ เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic
Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฎีนี้
ที่ใช้คำถามเพื่อดึงดูดความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัด
และช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
ทิศนา แขมมณี (2553
: 45) กล่าวว่า ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ ของกลุ่มนักคิด
เซนต์ออกุสติน , จอห์น คาลวิน และคริสเตียน โวล์ฟ
1.มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่วและการกระทำใด ๆ
ของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (bad-active)
2.มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3.สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง
สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4.การฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5.การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่นวิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา
ภาษาลาติน ภาษากรีกและคัมภีร์ใบเบิล เป็นต้น
ดร. สุริน ชุมสาย ณ อยุธยา (http://surinx.blogspot.com/)
ได้รวบรวมข้อมูลของนักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่าจิตหรือสมองหรือสติปัญญา
สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้ เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยการให้บุคคลเรียนรู้เรื่อง ที่ยาก ๆ
ยิ่งยากมากเท่าไรจิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
Neric-club
(http://www.neric-club.com/data.php?page=3&menu_id=97) ได้รวบรวมข้อมูลของนักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบ โสเครติส(Socratic Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic
Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้
กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
ทองหล่อ
วงษ์อินทร์ (2520)กล่าวไว้ว่า จิตนั้นควรแยกออกได้ คล้ายสารประกอบทางเคมีสารต่างๆ
สามารถแบ่งเป็นส่วนย่อยได้เรียกว่าธาตุ จิตก็เช่นกันสามารถแยกออกเป็นจิตธาตุได้ มี
2 ส่วน
1.จิตธาตุสัมผัส (Sensation) คือ การทำงานของอวัยวะสัมผัสเมื่อมีสิ่งเร้า
2.จิตธาตุรู้สึก (Feeling) คือการแปลผลจากการสัมผัสนั้น
1.จิตธาตุสัมผัส (Sensation) คือ การทำงานของอวัยวะสัมผัสเมื่อมีสิ่งเร้า
2.จิตธาตุรู้สึก (Feeling) คือการแปลผลจากการสัมผัสนั้น
http://www.th.wikipedia.org/wiki/ ได้รวบรวมและกล่าวถึงแนวความคิดของ
มาสโลว์ (Maslow) ที่ได้อธิบายถึงลำดับความต้องการของมนุษย์ โดยที่ความต้องการจะเป็น
ตัวกระตุ้นให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมเพื่อไปสู่ความต้องการนั้น
ดังนี้ถ้าเข้าใจความต้องการของมนุษย์ก็สามารถ
อธิบายถึงเรื่องแรงจูงใจของมนุษย์ได้เช่นเดียวกัน
ทฤษฎีนี้เห็นว่าแรงจูงใจในการกระทำพฤติกรรมของมนุษย์นั้นขึ้นอยู่กับการรับรู้ (Perceive)
สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว โดยอาศัยความสามารถทางปัญญาเป็นสำคัญ
มนุษย์จะได้รับแรงผลักดันจากหลาย ๆ ทางในการแสดงพฤติกรรม
http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486ได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
ทิศนา แขมมณี(2555:45-46) กล่าวว่า ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง (Mental Discipline)
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา (mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข้งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยาก ๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ (Bigge, 1964: 19-30)
1 กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic
Mental Discipline) นักคิดที่สำคัญของกลุ่มนี้คือ เซนต์ออกุสติน (St.Augustine) จอห์น คาลวิน (John Calvin) และคริสเตียน
โวล์ฟ (Christian Wolff) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อ
ดังนี้
ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
1. มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว
และการกระทำใด ๆ ของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวของมนุษย์เอง (bad-active)
2. มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3. สมองมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน
ๆ (faculties) ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง
สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4. การฝึกสมอง
หรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5. การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด
ต้องใช้วิชาที่ยากเช่น วิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลติน ภาษากรีก
และคัมภีร์ไบเบิล เป็นต้น
2 ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมี่เหตุมีผลของมนุษย์ (Humanistic
Mental Discipline) นักคิดคนสำคัญในกลุ่มนี้คือ พลาโต (plato) และอริสโตเติล (Aristotle) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อดังนี้
ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
1. พัฒนาการในเรื่องต่าง ๆ
เป็นความสามารถของมนุษย์ มิใช่พระเจ้าบันดาลให้เกิด
2. มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดีไม่เลว
และการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน (neutral-active)
3. มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง
มนุษย์มีอิสระที่จะเลือกทำความเข้าใจและหาเหตุผลของตน หากได้รับการฝึกฝนอบรมก็จะสามารถพัฒนาศักยภาพที่ติดตัวมามนุษย์มีความรู้ตั้งแต่เกิด แต่ถ้าขาด
การกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
สุริน ชุมสาย ณ อยุธยา (http://surinx.blogspot.com/) ได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา
(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องโดย การฝึกเช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งมากขึ้นเท่านั้น นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่ม ย่อย คือ
1.กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า
(Theistic Mental Discipline)
2.ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic Mental Discipline)
ครูบ้านนอกดอทคอม (http://www.kroobannok.com) กล่าวว่า
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง(Mental Discipline) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind)สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโส-เครติส(Socratic
Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
ทิศนา แขมมณี (2554:45-46)
กล่าวไว้ว่านักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่าจิตหรือสมองหรือสติปัญญาสามารถพัฒนาให้ปราด
เปรื่องได้โดยการฝึก นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ
1.1.1 กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่วและหลักการจัดการศึกษา/การสอน การฝึกสมองให้เป็นระเบียบ
1.1.2 ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์มีความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้
เกิดจากความสามารถและหลักการจัดการศึกษา/การสอน การพัฒนาผู้เรียนโดยการกระตุ้น
ประนอม จะปิน(
http://pirun.ku.ac.th/~g4886063/learningT.htm )ได้รวบรวมและกล่าวถึงนักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind)
สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic
Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
ณัชชากัญญ์ วิรัตนชัยวรรณ ( http://www.learners.in.th/blogs/posts/386486)
ได้รวบรวมและกล่าวถึงนักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
ทิศนา แขมมณี (2551:45)
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมองแยกออกเป็น 2
กลุ่มย่อยคือ
กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า มีความเชื่อดังนี้
- มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว และการกระทำใดๆ ของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์
-
มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
- การฝึกสมอง
เป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ มีความเชื่อดังนี้
- พัฒนาการในเรื่องต่างๆ
เป็นความสามารถในมนุษย์ไม่ใช่พระเจ้าบัลดาลให้เกิด
- มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดีไม่เลว
และการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน
- มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง
และมีอิสระที่จะเลือกทำตามความเข้าใจของตนเอง
- มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด
แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
ดร. สุริน ชุมสาย ณ อยุธยา (http://surinx.blogspot.com/)
ได้รวบรวมทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมองไว้ว่า นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา
สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วย
การฝึกออกกำลังกายในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยการให้บุคคลเรียนรู้เรื่อง ที่ยาก
ๆยิ่งยากมากเท่าไรจิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
บริหารการศึกษา กลุ่มดอนทอง52 (http://dontong52.blogspot.com/)
ได้รวบรวมทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมองไว้ว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญาสามารถพัฒนาได้โดยการฝึก นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น
2 กลุ่มย่อย คือกลุ่มที่เชื่อในพระเจ้าว่า
มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรมและกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ว่า
พัฒนาการเป็นเรื่องของมนุษย์ มิใช่พระเจ้าบันดาลมามนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดี
ไม่เลว
http://www.neric-club.com/data.php?page=3&menu_id=97(2555)
ได้รวบรวมว่า
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา (mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส (Socratic
Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย (Didactic Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
http://www.sobkroo.com/detail_room_main3.php?nid=3019/ (2555) ได้รวบรวมว่า นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญาสามารถพัฒนาได้โดยการฝึก นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ
1. กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental Discipline ) นักคิด คือ
เซนต์ออกุสติน จอห์น คาลวิน และคริสเตียนโวล์ฟ นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อเรื่อง
1) มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว การกระทำใด ๆ ของมนุษย์เกิดมาจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (Bad-active)
2) มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3) สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4) การฝึกสมอง หรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5) การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่น วิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติร ภาษากรีก และคัมภีร์ไบเบิล เป็นต้น
1) มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว การกระทำใด ๆ ของมนุษย์เกิดมาจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (Bad-active)
2) มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3) สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4) การฝึกสมอง หรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5) การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่น วิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติร ภาษากรีก และคัมภีร์ไบเบิล เป็นต้น
2. กลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ (Humanistic Mental Discipline)นักคิดคนสำคัญ คือ พลาโตและอริสโตเติล นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า
1)พัฒนาการเป็นเรื่องของมนุษย์ มิใช่พระเจ้าบันดาลมา
2)มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดี ไม่เลว และการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน
2)มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดี ไม่เลว และการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน
ทิศนา แขมมณี (2550:45-46) ได้ได้รวบรวมว่า
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่20ได้กล่าวไว้ว่าสมองหรือสติปัญญา
(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึกเช่นเดียวกับ
กล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกายในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยการให้บุคคลเรียนรู้
เรื่องที่ยากๆยิ่งยากมากเท่าไรจิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
เซนต์ออกุสติน จอห์น คาลวิน และ คริสเตรียน
โวล์ฟ กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้านักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ ว่า
มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว และการกระทำใด
ของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์ (bad-active) มนุษย์พร้อมจะกระทำความชั่วไปหากไม่อบรมสั่งสอนอบรม
และเชื่อว่าสมองมนุษย์แบ่งออกเป็นส่วน ๆ
ถ้าได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะทำให้เกิดความเข้มแข็ง แก้ปัญหาต่าง ๆ ได้
พลาโตและอริโตเติล นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(Mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
Bigge (1964: 19-30) กล่าวไว้ว่า จิตหรือสมองหรือปัญญา (Mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
เช่นเดียวกันกับกล้ามเนื้อของเราซึ่งจะแข็งแรงได้นั้น จะต้องฝึกออกกำลังกาย
เช่นเดียวกับการฝึกจิตหรือสมอง ก็จะทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไร จิตและสมองก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
อรภิชญา นามดี (http://www.niteslink.net/web/?name=webboard&file=read&id=7)กล่าวว่า นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic
Method)และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
ครูบ้านนอกดอทคอม (http://www.kroobannok.com) ได้กล่าวว่า
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง(Mental Discipline) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโส-เครติส(Socratic
Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
นันชนาถ ประดิษฐ์คำ(http://www.learners.in.th/profiles/users/natchakan)กล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา (mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ
ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
สุรางค์ โค้วตระกูล (1902:44) กล่าวว่า
วัยแรกของชีวิตเป็นวัยที่เป็นรากฐานเบื้องต้น และวัยต่อๆ มาก็สร้างจากรากฐานนี้
เหมือนกับการสร้างบ้านจะต้องมีรากฐานที่ดี สำหรับชีวิตของคนก็เช่นเดียวกัน
ถ้าหากในวัยเด็กทารกได้รับการดูแลอย่างดีและอบอุ่น ก็จะช่วยให้เด็กมีความเชื่อถือในผู้อื่นที่อยู่รอบๆ
แต่บุคลิกภาพของแต่ละคนเป็นเรื่องที่เปลี่ยนแปลงเสมอ
และทุกคนมีโอกาสที่จะแก้ไขบุคลิกภาพของตน
และผู้ใหญ่ที่อยู่แวดล้อมก็มีส่วนที่จะช่วยส่งเสริม
หรือแก้ไขบุคลิกภาพของผู้เยาว์ที่อยู่ในความดูแลให้เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีความสุข
อารี พันธ์มณี (2555:27) กล่าวว่า พลังจิตทำหน้าที่ควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ 3 ลักษณะ ดังนี้
-
จิตสำนึก คือ ภาวะจิตที่รู้ตัวอยู่ตลอดเวลา
-
จิตกึ่งสำนึก คือ ภาวะจิตที่ระลึกได้
-
จิตไร้สำนึก คือ ภาวะจิตที่ไม่รู้ตัว
ฟรอยด์ เชื่อว่า
พฤติกรรมอปกติสามารถวิเคราะห์และอธิบายได้ด้วยแรงขับขอจิตไร้สำนึก
โดยการใช้เทคนิคการสะกดจิต การให้ระลึกเสรี เพื่อนำจิตไร้สำนึกออกมา
และวิเคราะห์ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในจิตไร้สำนึก
ก็จะสามารถเข้าใจบุคลิกภาพและพฤติกรรมอปกติได้ พฤติกรรมทั้งหลายมีสาเหตุเกิดจากพลังผลักดันทางเพศ
ความคิดเช่นนี้ได้รับการต่อต้านอย่างมากในระยะแรกๆ
แต่ต่อมาหลักการทางจิตวิเคราะห์ก็ได้รับการยอมรับในการนำไปใช้ในวงการของจิตแพทย์
หรือการบำบัดรักษาอาการที่ผิดปกติทางอารมณ์และจิตใจ
ทิศนา แขมมณี (2555:46) กล่าวว่า
1. พัฒนาการในเรื่องต่างๆเป็นความสามารถของมนุษย์ มิใช่พระเจ้าบันดาลให้เกิด
2. มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดีไม่เลว
และการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน
3. มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง
มนุษย์มีอิสระที่จะเลือกตามความเข้าใจและเหตุผลของตน หากได้รับการฝึกอบรมก็จะสามารถพัฒนาศักยภาพที่ติดตัวมา
4. มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาตั้งแต่เกิด แต่ถ้าขาด
การกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
ทิศนา แขมมณี (2554:45-48) ได้กล่าวไว้ว่า
การฝึกจิตหรือสมองหรือสมองหรือสติปัญญา สามารถ พัฒนาไห้ปราดเปรื่องได้
โดยการฝึกมีแนวคิดแยกออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ
1. กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า คือ เซนต์ออกุสติน (St. Augustine) จอห์น คาลวิน (John Calin) แคริสเตียน โวลฟ์ (Christian Wolff) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อดังนี้
ก . ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ มนุษย์เกิดมาพร้อมกับ
ข. หลักการจัดการศึกษา/การสอน การฝึกสมองให้เป็นระเบียบ
2. ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ คือ คือ พลาโต (Plato) และอริสโตเติล (Aristotle) มีความเชื่อดังนี้
ก. ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ เกิดจากความสามารถ
ข. หลักการจัดการศึกษา/การสอน การพัฒนาผู้เรียนโดยการกระตุ้น
Wilhem Wundt (2520 : 8-9) ได้กล่าวไว้ จิตนั้นควรแยกออกได้ คล้ายสารประกอบทางเคมีสารต่างๆ สามารถแบ่งเป็นส่วนย่อยได้เรียกว่าธาตุ จิตก็เช่นกันสามารถแยกออกเป็นจิตธาตุได้ มี 2 ส่วน
1.จิตธาตุสัมผัส (Sensation) คือ การทำงานของอวัยวะสัมผัสเมื่อมีสิ่งเร้า
2.จิตธาตุรู้สึก (Feeling) คือการแปลผลจากการสัมผัสนั้น
http://www.wijai48.com/learning_stye/learningprocess.htm (2555) ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
1. กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า คือ เซนต์ออกุสติน (St. Augustine) จอห์น คาลวิน (John Calin) แคริสเตียน โวลฟ์ (Christian Wolff) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อดังนี้
ก . ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ มนุษย์เกิดมาพร้อมกับ
ข. หลักการจัดการศึกษา/การสอน การฝึกสมองให้เป็นระเบียบ
2. ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์ คือ คือ พลาโต (Plato) และอริสโตเติล (Aristotle) มีความเชื่อดังนี้
ก. ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ เกิดจากความสามารถ
ข. หลักการจัดการศึกษา/การสอน การพัฒนาผู้เรียนโดยการกระตุ้น
Wilhem Wundt (2520 : 8-9) ได้กล่าวไว้ จิตนั้นควรแยกออกได้ คล้ายสารประกอบทางเคมีสารต่างๆ สามารถแบ่งเป็นส่วนย่อยได้เรียกว่าธาตุ จิตก็เช่นกันสามารถแยกออกเป็นจิตธาตุได้ มี 2 ส่วน
1.จิตธาตุสัมผัส (Sensation) คือ การทำงานของอวัยวะสัมผัสเมื่อมีสิ่งเร้า
2.จิตธาตุรู้สึก (Feeling) คือการแปลผลจากการสัมผัสนั้น
http://www.wijai48.com/learning_stye/learningprocess.htm (2555) ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
สุรางค์ โค้วตระกูล.(2541: 61 ) กล่าวว่า เน้นความสำคัญ ของวัฒนธรรมและสังคม
และการเรียนรู้ที่มีพัฒนาการ เชาว์ปัญญา การเข้าใจพัฒนาการของมนุษย์
จะต้องเขาใจวัฒนธรรมที่เลี้ยงมาตั้งแต่เด็ก เพราะตั้งแต่เกิดมนุษย์
จะได้รับจากสิ่งแวดล้อมที่เป็นผลงานของมนุษย์คือวัฒนธรรม.
ทิศนา แขมมณี.(2553: 45)
เซนต์ออกุสติน จอร์น คาลวิน และคริสเตียน โวล์ฟ กล่าวเป็นข้อดังนี้
1.มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว
2. มนุษย์พร้อมที่จะทำชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3. สมองของมนุษย์แบ่งออกเป็นส่วนๆหากได้รับการฝึกอย่างสม่ำเสมอ
ทำให้เกิดความเข้มแข็งสามารถแก้ปัญหาได้
4. การฝึกสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้กับวิชาที่ยากๆ
- ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ พลาโต อริสโตเติล กล่าวเป็นข้อ ดังนี้
1.พัฒนาการทางด้านต่างๆเป็นความสามารถของมนุษย์มิใช่พระเจ้าบันดาลให้
2.มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดีไม่เลว การกระของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน
3. มนุษย์มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตัวเอง
4. มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาแต่กำเนิด
แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
ณัชชากัญญ์
วิรัตนชัยวรรณ (2555)นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถ พัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
ทิศนา แขมมณี. (2545).ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง (Mental Discipline) นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญาสามารถพัฒนาได้โดยการฝึก นักคิดกลุ่มนี้มีแนวคิดแยกออกเป็น2
กลุ่มย่อย คือ
1 กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า(Theistic Mental Discipline ) นักคิด คือ เซนต์ออกุสติน จอห์น คาลวิน และคริสเตียน โวล์ฟ นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อเรื่อง
1) มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว การกระทำใด ๆ ของมนุษย์เกิดมาจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (Bad-active)
2) มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3) สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4) การฝึกสมอง หรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5) การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่น วิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติร ภาษากรีก และคัมภีร์ไบ-เบิล เป็นต้น
2.ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์(Humanistic Mental Discipline) นักคิดคนสำคัญ คือ พลาโตและอริส โตเติล นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า
1)พัฒนาการเป็นเรื่องของมนุษย์มิใช่พระเจ้าบันดาลมา
2)มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดี ไม่เลว และการกระทำของมนุษย์เกิดมาจากแรงกระตุ้นภายใน
3)มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง
4)มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาแต่เกิด แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
1 กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า(Theistic Mental Discipline ) นักคิด คือ เซนต์ออกุสติน จอห์น คาลวิน และคริสเตียน โวล์ฟ นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อเรื่อง
1) มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว การกระทำใด ๆ ของมนุษย์เกิดมาจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (Bad-active)
2) มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม
3) สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้
4) การฝึกสมอง หรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็นต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดีและฉลาด
5) การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่น วิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติร ภาษากรีก และคัมภีร์ไบ-เบิล เป็นต้น
2.ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์(Humanistic Mental Discipline) นักคิดคนสำคัญ คือ พลาโตและอริส โตเติล นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่า
1)พัฒนาการเป็นเรื่องของมนุษย์มิใช่พระเจ้าบันดาลมา
2)มนุษย์เกิดมามีลักษณะไม่ดี ไม่เลว และการกระทำของมนุษย์เกิดมาจากแรงกระตุ้นภายใน
3)มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง
4)มนุษย์มีความรู้ติดตัวมาแต่เกิด แต่ถ้าขาดการกระตุ้นความรู้จะไม่แสดงออกมา
http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486 ได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind)
สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
สุรางค์ โคว้ตระกูล.(2545).ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง(Mental Discipline) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind)สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโสเครติส(Socratic
Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic Method) เป็นวิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
http://www.niteslink.net/web/?name=webboard&file=read&id=7
ได้รวบรวมทฤษฎีเน้นการฝึกจิตหรือสมองไว้ว่า ออกุสติน จอห์น คาลวิน และคริสเตรียน โวล์ฟ เป็นนักคิดกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมองนี้ที่มีความเชื่อเรื่องกลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า (Theistic Mental Discipline) เป็นผู้ที่กล่าวว่า มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว การกระทำใด ๆ
ของมนุษย์เกิดมาจากแรงกระตุ้นภายในตัวมนุษย์เอง (Bad-active) มนุษย์พร้อมที่จะทำความชั่วหากไม่ได้รับการสั่งสอนอบรม สมองของมนุษย์นั้นแบ่งออกเป็นส่วน ๆ
ซึ่งหากได้รับการฝึกอย่างเหมาะสมจะช่วยทำให้เกิดความเข้มแข็ง
สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆได้ และการฝึกสมองหรือฝึกระเบียบวินัยของจิตเป็นสิ่งจำเป็น
ต่อการพัฒนาให้มนุษย์เป็นคนดี และ ฉลาด การฝึกฝนสมองให้รู้จักคิด
ต้องใช้วิชาที่ยาก เช่น วิชาคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาลาติร ภาษากรีก
และคัมภีร์ไบเบิล เป็นต้น
ครูบ้านนอกดอทคอม (http://www.kroobannok.com) ได้รวบรวมทฤษฎีเน้นการฝึกจิตหรือสมองไว้ว่า ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง(Mental
Discipline) นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถ
พัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา วิธีการสอนแบบโส-เครติส(Socratic
Method) และวิธีการสอนแบบบรรยาย(Didactic
Method) เป็น วิธีการสอนตามทฤษฏีนี้ที่ใช้คำถามเพื่อดึงความรู้ในตัวผู้เรียนออกมาให้
กระจ่างชัดและช่วยเพิ่มเติมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
ซึ่งเป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้
ยินดี เจ้าแก้ว (http://school.obec.go.th/sup_br3/rn_05.htm) ได้รวบรวมทฤษฎีเน้นการฝึกจิตหรือสมองไว้ว่า พลาโต และ
อริสโตเติล นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่าการเรียนรู้
ว่ามนุษย์สามารถพัฒนาความสามารถของมนุษย์เองไม่ใช่พระเจ้า มนุษย์เกิดมามีลักษณะที่ไม่ดี
ไม่เลว และการกระทำของมนุษย์เกิดจากแรงกระตุ้นภายใน (neutral-active) และมนุษย์มีเหตุผลและพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง
มนุษย์มีอิสระที่จะเลือกทำตามความเข้าใจและเหตุผลของตน ถ้าหากได้รับการฝึกฝนอบรม
และมีความรู้มาตั้งแต่เกิด แต่ถ้าขาดการกระตุ้นแล้วความรู้ก็จะไม่แสดงออกมา
ทิศนา แขมมณี
(2554:หน้า45-48) กล่าวไว้ว่าการฝึกจิตหรือสมองหรือสติปัญญาสามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึกมีแนวคิดแยกออกเป็น
2 กลุ่มย่อย คือ
1 กลุ่มที่เชื่อในพระเจ้า
นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อดังนี้
ก.
ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความชั่ว
ข.
หลักการจัดการศึกษา/การสอน การฝึกสมองให้เป็นระเบียบ
2 ทฤษฎีของกลุ่มที่เชื่อในความมีเหตุผลของมนุษย์มีความเชื่อดังนี้
ก.
ความเชื่อเกี่ยวกับการเรียนรู้ เกิดจากความสามารถ
ข. หลักการจัดการศึกษา/การสอน
การพัฒนาผู้เรียนโดยการกระตุ้น
www.neric-club.com กล่าวไว้ว่านักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า
จิตหรือสมองหรือสติปัญญา(mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยให้บุคคลเรียนรู้สิ่งที่ยากๆ ยิ่งยากมากเท่าไร
จิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้
โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
surinx.blogspot.com ได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า
ว่าจิตหรือสมองหรือสติปัญญา (mind) สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึก
เช่นเดียวกับกล้ามเนื้อซึ่งจะแข็งแรงได้ด้วยการฝึกออกกำลังกาย
ในการฝึกจิตหรือสมองนี้ทำได้โดยการให้บุคคลเรียนรู้เรื่อง ที่ยาก ๆ
ยิ่งยากมากเท่าไรจิตก็จะได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้นเท่านั้น
สรุปโดยรวม
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง(Mental Discipline) เชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึกจิตหรือสมอง จิต คือ ความรู้สึกต่างๆ ที่ควบคุมการทำงานต่างๆ ของร่างกาย โดยความรู้สึกนึกคิด และการทำงานของอวัยวะต่างๆ จากการสัมผัส และ แปลผล จึงทำให้เกิดจิตขึ้น เมื่อจิตได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้น ก็จะส่งผลให้ตัวผู้เรียนนั้นมีความแข็งแกร่งของสมองมากยิ่งขั้น ทฤษฎีนี้จะเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และกระตุ้นความรู้ของผู้เรียนออกมา หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง(Mental Discipline) เชื่อว่า จิตหรือสมองหรือสติปัญญา สามารถพัฒนาให้ปราดเปรื่องได้โดยการฝึกจิตหรือสมอง จิต คือ ความรู้สึกต่างๆ ที่ควบคุมการทำงานต่างๆ ของร่างกาย โดยความรู้สึกนึกคิด และการทำงานของอวัยวะต่างๆ จากการสัมผัส และ แปลผล จึงทำให้เกิดจิตขึ้น เมื่อจิตได้รับการฝึกให้แข็งแกร่งขึ้น ก็จะส่งผลให้ตัวผู้เรียนนั้นมีความแข็งแกร่งของสมองมากยิ่งขั้น ทฤษฎีนี้จะเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และกระตุ้นความรู้ของผู้เรียนออกมา หลักการในการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยการกระตุ้นความรู้ในตัวผู้เรียนให้แสดงออกมา
อ้างอิง
บุญเลี้ยง
ทุมทอง. (1/2554). การวิจัยการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์.มหาสารคาม:โรงพิมพ์สหบัณฑิต.
ทิศนา
แขมมณี. 2547. องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. ศาสตร์การสอน.
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
: กรุงเทพฯ.
ทิศนา แขมมณี.2550. การสอนจิตวิทยาการเรียนรู้
เรื่องศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.
พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิศนา แขมมณี.2551. ศาสตร์การสอน. กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิศนา แขมมณี.2553. ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.
พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ทิศนา แขมมณี. 2554. ศาสตร์การสอน
องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพมหานคร :
จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. หน้า 45-48
ทองหล่อ วงษ์อินทร์ (ปี พ.ศ.2520). เรื่อง
แนวทัศนะของนักจิตวิทยากลุ่มต่างๆ.ชื่อหนังสือ จิตวิทยาการศึกษา.โรงพิมพ์
ชัยศิริการพิมพ์. จังหวัด นนทบุรี.
วีระ
บุณยะกาญจน.(2517).จิตวิทยาการศึกษา.โรงพิมพ์โครงการการฝึกหัดครูและบริการการศึกษา.จังหวัดมหาสารคาม.
สุรางค์ โคว้ตระกูล. (2545).จิตวิทยาการศึกษา, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรางค์ โค้วตระกูล.(2541).จิตวิทยาการศึกษา.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อารี พันธ์มณี.(2546).จิตวิทยาสร้างสรรค์การเรียนการสอน.กรุงเทพฯ:ใยไหม เอดดูเคท.
เมื่อ วันที่ 8 กรกฎาคม 55
ดร. สุริน ชุมสาย ณ อยุธยา. ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้นการฝึกจิตหรือสมอง.
[ออนไลน์].http://surinx.blogspot.com/. เข้าถึงเมื่อวันที่
7 กรกฎาคม 2555
บริหารการศึกษา กลุ่มดอนทอง52.จิตวิทยาการศึกษา.[ออนไลน์]:
(http://dontong52.blogspot.com/ เข้าถึงเมื่อ12 กรกฎาคม 2555
ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ สพป. อุตรดิตถ์ เขต2 [ทฤษฎีการเรียนรู้]
http://www.neric-club.com/data.php?page=3&menu_id=97 เข้าถึงเมื่อวันที่ 6 เดือนกรกฎาคม
พ.ศ. 2555
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=294321/
สืบค้น เมื่อ วันที่ 8 กรกฎาคม 55
http://www.learners.in.th/profiles/users/natchakan_parn เข้าถึงเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2555
http://surinx.blogspot.com เข้าถึงเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2555
http://www.surinx.blogspot.com เข้าถึงเมื่อ 2 กรกฎาคม 2555
http://www.happyhomeclinic.com/a01-multipleintelligence.htm. 9 กรกฎาคม 2555 เวลา 20.20
http://surinx.blogspot.com/ สืบค้นเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2555. เวลา 20.30น.
http://www.wijai48.com/learning_stye/learningprocess.htm สืบค้นเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2555 เวลา 20.33 น.
http://www.wijai48.com/learning_stye/learningprocess.htm สืบค้นเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2555 เวลา 20.33 น.
http:bchaiyarach.blogspot.com/2012/06/mental-discipline.htmlวันที่ 11 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555
http://1anuwat006.blogspot.com/2011/06/mental-discipline.html เ วันที่ 11 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555
http://pirun.ku.ac.th/~g4886063/learningT.htm(ออนไลน์) เข้าถึงเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2555
http://dontong52.blogspot.com/ (ออนไลน์)เข้าถึงเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2555
http://surinx.blogspot.com
ได้เข้าถึงเมื่อวันที่ 10/07/2555
Dr.Surin (2553) ชื่อเรื่อง
ทฤษฎีและแนวคิดในการจัดการเรียนรู้.ชื่อเว็บไซค์: http://surinx.blogspot.com วันศุกร์ ที่ 6 กรกฎาคม 2555
http://www.niteslink.net/web/?name=webboard&file=read&id=7 เข้าถึง วันศุกร์ ที่ 6 กรกฎาคม 2555
http://www.th.wikipedia.org/wiki/ เข้าเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2555
http://www.wijai48.com/learning_stye/learningprocess.htm สืบค้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2555 เวลา 19.00 น.
http://www.kroobannok.com สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
http://www.sobkroo.com/detail_room_main3.php?nid=3019/ เข้าถึงเมื่อ 28/06/2555
เข้าถึงเมื่อวันที่ 8 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555
Dr.Surin (http://surinx.blogspot.com/).[ออนไลน์]
เข้าถึงเมื่อวันที่ 8 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555
อรภิชญา นามดี (http://www.niteslink.net/web/) เข้าถึงเมื่อวันอาทิตย์
ที่ 8 เดือนกรกฎาคม
พ.ศ. 2555เวลา 21.33 น.
พ.ศ. 2555เวลา 21.33 น.
ครูบ้านนอกดอทคอม (http://www.kroobannok.com) เข้าถึงเมื่อวันอาทิตย์
วันที่ 8 เดือนกรกฎาคม
พ.ศ. 2555เวลา 21.41 น.
พ.ศ. 2555เวลา 21.41 น.
นันชนาถ ประดิษฐ์คำ. (http://www.learners.in.th/profiles/users/natchakan_parn.)
เข้าถึงเมื่อวันอาทิตย์ ที่ 8 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555เวลา 22.03 น.
เข้าถึงเมื่อวันอาทิตย์ ที่ 8 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555เวลา 22.03 น.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น